1.  C2H5OH

2.  ยีสต์  เมล็ดพืช

3.  C3H6 O3

4.  นมเปรี้ยว

5.   เบียร์   สุรา ไวน์

6.  Lactobacillus

7.  cytoplasm

8.  Fermentation

9.  NO3  ,  SO42-

10.  กล้ามเนื้อลาย

 

 


 

   การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน(Anaerobic respiration) ประกอบด้วยสองขั้นตอน คือ Glycolysis และ

โดยเนื้อเยื่อเยื่อบางอย่างได้พลังงานมาจากการสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจน ได้แก่  ส่วน  เป็นตัวอย่างของเนื้อเยื่อสัตว์ชั้นสูงที่สามารถสลายอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนได้   ซึ่งการสลายอาหารแบบนี้จะใช้สารอื่นเช่น  เป็นตัวรับอิเล็กตรอนแทนออกซิเจน

   การสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนในเซลล์ยีสต์เกิดขึ้นใน และจะได้  จึงถูกนำมาใช้ในการผลิต   ส่วนการสลายสารอาหารแบบไม่ใช้ออกซิเจนของเซลล์กล้ามเนื้อ พยาธิตัวตืดและแบคทีเรียบางชนิดจะได้ นอกจากนั้นยังมีแบคทีเรียบางชนิดเช่น  สามารถสลายสารอาหารโดยไม่ใช้แก๊สออกซิเจน  ทำให้เกิดกรดแลกติก   เราจึงนำจุลินทรีย์เหล่านี้มาใช้ประโยชน์ในการหมักหรือผลิตอาหารบางชนิด  เช่น