Digestive
Circulatory
Respiratory
Excretory
Nervous
Immune
Reproductive
Skeletal
profile
 
       
         
    ทำไมเราต้องหายใจตลอดเวลา และ ระบบหายใจมีการทำงานอย่างไร ?    
         
 

ที่มาภาพ : http://commons.wikimedia.org/ wiki/File:Respiratory_function _by_Bryan_Brandenburg.jpg

 
       
   

Content on this page requires a newer version of Adobe Flash Player.

Get Adobe Flash player

         ระบบการหายใจ คือ ระบบที่ประกอบด้วยอวัยวะเกี่ยวข้องกับ การหายใจ เป็นการนำอากาศเข้า และออกจากร่างกาย ส่งผลให้แก๊สออกซิเจน ทำปฏิกิริยา กับสารอาหาร ได้พลังงาน น้ำ และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ กระบวนการหายใจ เกิดขึ้นกับทุกเซลล์ตลอดเวลา
 
       
 
   กลไกการทำงานของระบบหายใจ

Content on this page requires a newer version of Adobe Flash Player.

Get Adobe Flash player

 
            การหายใจจำเป็นต้องอาศัย โครงสร้าง 2 ชนิดคือ กล้ามเนื้อกะบังลม และกระดูกซี่โครง ซึ่งมีกลไกการทำงานของระบบหายใจ ดังนี้
  ที่มาภาพ : http://i.imgur.com/dx0pryK.gif

ที่มาภาพ : http://taem.weebly.com/364836193639365636293591361936323610 3610362736343618365135921.html
การหายใจเข้า (Inspiration)
กะบังลมจะเลื่อนต่ำลง กระดูกซี่โครงจะเลื่อนสูงขึ้น ทำให้ปริมาตรของช่องอกเพิ่มขึ้น ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดลดต่ำลงกว่าอากาศภายนอก อากาศภายนอกจึงเคลื่อนเข้าสู่จมูก หลอดลม และไปยังถุงลมปอด

ที่มาภาพ : http://taem.weebly.com/364836193639365636293591361936323610 3610362736343618365135921.html
การหายใจออก (Expiration)
กะบังลมจะเลื่อนสูง กระดูกซี่โครงจะเลื่อนต่ำลง ทำให้ปริมาตรของช่องอกลดน้อยลง ความดันอากาศในบริเวณรอบ ๆ ปอดสูงกว่าอากาศภายนอก อากาศภายในถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จากถุงลมปอด ไปสู่หลอดลม และออกทางจมูก
 
  กลับด้านบน หน้าถัดไป
คำแนะนำการใช้ I ตัวชี้วัด I เนื้อหา I วิดีโอ I แบบทดสอบ I ผู้จัดทำ
 
   
 
จัดทำโดย นิสา มากแก้ว ครูวิทยฐานะชำนาญการ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี